Menu
หน้าหลัก
เกี่ยวกับเรา
บริการ
ติดต่อเรา
ความรู้สำหรับผู้ประกอบการ
หน้าแรก
ความรู้สำหรับผู้ประกอบการ
ความรู้สำหรับผู้ประกอบการ
ย้อนกลับ
หน้าแรก
ความรู้สำหรับผู้ประกอบการ
หมวดหมู่ทั้งหมด
ความรู้สำหรับผู้ประกอบการ
ค้นหา
ความรู้สำหรับผู้ประกอบการ
15 รายการ
ฐานคำนวณประกันสังคม ภาษีอากร
ฐานคำนวณประกันสังคม ภาษีอากร
ฐานภาษีเงินได้ คิดจากเงินที่นายจ้างจ่ายให้ลูกจ้าง บวกเพิ่มด้วยประโยชน์ที่ให้เพิ่มแม่ไม่ได้เป็นตัวเงิน ต้องนำมารวมคำนวณภาษีหัก ณ ที่จ่ายรวมกันทั้งหมดฐานประกันสังคม คิดจากค่าจ้างในเวลาทำงานปกติ (บางส่วน) ไม่รวมค่าจ้างที่ให้นอกเหนือจากการทำงานในเวลาปกติ ค่าจูงใจ เงินรางวัล และประโยชน์เพิ่ม อย่างเช่น ได้อยู่บ้านพักโดยไม่ต้องจ่ายเงิน และสูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท (ณ ปัจจุบัน)
อ่านต่อ
810 ผู้เข้าชม
อัตราเงินสมทบประกันสังคม 2566 ปรับเป็นอัตราปกติแล้ว!!!
อัตราเงินสมทบประกันสังคม 2566 ปรับเป็นอัตราปกติแล้ว!!!
อัตราเงินสมทบประกันสังคม ปี 2566 ปรับมาเป็นอัตราปกติ อัตรา 5% ตามกฎหมายปัจจุบันแล้ว เริ่มการจ่ายค่าจ้างในเดือน มกราคม 2566 อย่าลืมเปลี่ยนการคำนวณให้ถูกต้องด้วยนะครับ
อ่านต่อ
2128 ผู้เข้าชม
เตรียมความพร้อม เอกสาร ลำดับเลขที่ สำหรับรอบบัญชีปี 2566
เตรียมความพร้อม เอกสาร ลำดับเลขที่ สำหรับรอบบัญชีปี 2566
เตรียมความพร้อมเริ่มต้นรอบบัญชีใหม่ ปี 2566 สำหรับกิจการที่มีวันที่สิ้นรอบบัญชีเป็น 31 ธันวาคม ของทุกปี เอกสารที่มีลำดับเลขที่ เมื่อถึงวันสิ้นปี ควรหยุดใช้ ไม่นำไปใช้ต่อในรอบบัญชีปีถัดไป เพื่อจัดเก็บเอกสารหลักฐานต่าง ๆ แยกตามรอบบัญชีแต่ละปี
อ่านต่อ
757 ผู้เข้าชม
บริษัทจำกัด จัดตั้งโดยผู้เริ่มก่อการ 2 คน เริ่มบังคับใช้ ก.พ.2566
บริษัทจำกัด จัดตั้งโดยผู้เริ่มก่อการ 2 คน เริ่มบังคับใช้ ก.พ.2566
ในปี 2566 การจัดตั้งบริษัทจำกัด สำหรับนักธุรกิจรุ่นใหม่ จะสะดวกขึ้น โดยผู้เริ่มก่อการ (ผู้ถือหุ้น) เพียง 2 คน เท่านั้น
อ่านต่อ
782 ผู้เข้าชม
มาตรฐานรายงานทางการเงิน NPAEs (ปรับปรุง 2565) บังคับใช้ 1 ม.ค.2566
มาตรฐานรายงานทางการเงิน NPAEs (ปรับปรุง 2565) บังคับใช้ 1 ม.ค.2566
มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Thai Financial Reporting Standard for Non-Publicly Accountable Entities: TFRS for NPAEs) ฉบับปรับปรุง 2565 เริ่มบังคับใช้ 1 มกราคม 2566 เป็นต้นไป หลักสำคัญของการปรับปรุงมาตรฐานการรายงานทางการเงินฉบับนี้ คือ 1. ทำให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น 2. คงความง่ายในทางปฏิบัติ 3 เพิ่มทางเลือกในวิธีปฏิบัติทางบัญชี
อ่านต่อ
685 ผู้เข้าชม
อัตราภาษีที่ต้องคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
อัตราภาษีที่ต้องคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย
อัตราภาษีที่ต้องคำนวณภาษีเงินได้หัก ณ ที่จ่าย ผู้จ่ายเงินได้ หากจ่ายเงินได้ในบางลักษณะ ให้แก่ บุคคล นิติบุคคล ที่เป็นผู้มีหน้าที่เสี่ยภาษีเงินได้ ผู้จ่ายต้องหักภาษีตามอัตราแต่ละรายการให้ถูกต้องครบถ้วน
อ่านต่อ
352 ผู้เข้าชม
3654 ผู้เข้าชม
«
1
2
3
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับทั้งหมด
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com