ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษีเงินได้นิติบุคคล

ภาษีเงินได้นิติบุคคล เป็นภาษีอากรประเภทหนึ่งที่บัญญัติไว้ ในประมวลรัษฎากร จัดเก็บจากกำไรสุทธิของบริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล มีหลักการจัดเก็บที่สำคัญๆ โดยลำดับดังนี้

  • ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
  • นิติบุคคลที่ไม่ต้องเสียภาษีเงินได้
  • ฐานภาษีของภาษีเงินได้นิติบุคคล
  • ภาษีเงินได้นิติบุคคลคำนวณจากกำไรสุทธิ
  • ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเงินได้จากกำไรสุทธิ 
  • รอบระยะเวลาบัญชี
  • กำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล
  • เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ทวิ 
  • เงื่อนไขการคำนวณกำไรสุทธิตามมาตรา 65 ตรี (รายจ่ายต้องห้าม)
  • อัตราภาษีและการคำนวณภาษี
  • การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี
  • ภาษีเงินได้นิติบุคคลคำนวณจากยอดรายได้ก่อนหักรายจ่าย
  • ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับเงินได้ที่จ่ายจากหรือในประเทศไทย
  • ภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับการจำหน่ายกำไรไปนอกประเทศ
  • สถานที่ยื่นแบบแสดงรายการภาษี
  • บัญชีอัตราภาษี
อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ของบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ในประเทศไทย
- อัตราปกติ ร้อยละ 20
- อัตรา SMEs แบบขั้นบันได สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนจดทะเบียนที่ชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท และมีรายได้จากการขายสินค้าและการให้บริการในรอบระยะเวลาบัญชี ไม่เกิน 30 ล้านบาท  
กำไรสุทธิ อัตราภาษีร้อยละ
ไม่เกิน 300,000 บาท ยกเว้น
เกิน 300,000 บาท แต่ไม่เกิน 3,000,000 บาท 15
เกิน 3,000,000 บาท ขึ้นไป 20
- อัตราอื่น ๆ  (ร้อยละ 3, 5, 10, 15 สำหรับนิติบุคคลพิเศษบางประเภท)

 37733
ผู้เข้าชม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี ร้านค้าออนไลน์